วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10 

วันอังคารที่ 21 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557

   สรุปความรู้ที่ได้รับวันนี้   


เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม และอารมณ์ 
(Children with Behavioral and Emotional Disorders)




เด็กสมาธิสั้น

(Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorders)







เด็กพิการซ้อน 
(Children with Multiple Handicaps)







การนำไปประยุกต์ใช้


1. ลดภาวะอยู่ไม่นิ่ง : จัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นอย่างมีเป้าหมาย
    เพื่อลดแรงขับของเด็ก เช่น วิ่งเก็บลูกบอล, เล่นดึงดินน้ำมัน เป็นต้น
2. Self control : จัดกิจกรรมส่งเสริม ให้เด็กควบคุมตนเอง 
    และเคลื่อนไหวช้าลง  เช่น เดินบนทางแคบๆ
3. Relaxation training : จัดกิจกรรมฝึกเด็กเพื่อการผ่อนคลาย เช่น
    นั่งชิงช้า (ค่อยๆไกว), เดินย่องๆ เบาๆ  
4. การจัดห้องเรียน : ประตู้ห้องทึบ เพื่อไม่ให้เด็กหันมองออกไปข้างนอก
    เด็กจะได้มีสมาธิการเรียนเพิ่มขึ้น
5. พัฒนาเด็กในด้านการเคลื่อนไหว : ดนตรีประกอบการเคลื่อนไหว, 
     ใช้อวัยวะ 2 ส่วนร่วมกัน (พัฒนาแขน และขา)
6. พัฒนาเด็กในด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก หรือสติปัญญา เช่น
    ฝึกการส่งของ, หยอดเหรียญลงกระปุก, ต่อบล็อกเป็นตึกสูง เป็นต้น
7. ฝึกทักษะการใช้ภาษา เช่น ให้เด็กทำตามคำบอก, ฝึกการสื่อสารด้วยภาษา
    หรือท่าทาง
8. ฝึกให้เด็กรู้จักช่วยเหลือตนเอง เช่น การรับประทานอาหาร, การใส่ถุงเท้า,
    การรีดผ้า, การพับผ้า เป็นต้น
9. ปรับทัศนคติ อย่ากลัวเด็ก และระวังตัวเองเมื่อได้สอน หรืออยู่กับเด็กที่มี
    ความบกพร่องทางพฤติกรรม และอารมณ์ ควรเอาใจใส่ ให้คำชมเชย 
    และไม่ไปดูว่าเด็ก



การประเมิน

การประเมินตนเอง    : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน จดบันทึกเนื้อหาที่เรียน 
                                    ชอบดูวีดีโอประกอบการเรียน และการยกตัวอย่างจากประสบการณ์เดิม
                                    ของอาจารย์ เรียนสนุกสนาน ไม่เครียด       
การประเมินเพื่อน     : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน
 มีการจดบันทึกเนื้อหาต่างๆ
                                     เรียนสนุกสนาน เฮฮากันทำให้บรรยากาศในห้องเรียนมีความสุข
การประเมินอาจารย์  : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย  อาจารย์มีวีดีโอ การยกตัวอย่าง
จาก
                                    ประสบการณ์เดิม และแสดงพฤติกรรมเลียนแบบเด็ก มาถ่ายทอด
                                   ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจมากขึ้น อาจารย์สอนอย่างสนุกสนาน 
                                   ทำให้นักศึกษาไม่รู้สึกกดดันหรือ เคร่งเครียดในการเรียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น